[x] ๏ฟฝิดหน๏ฟฝาต๏ฟฝาง๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ
วันที่ ๒๖ มิถุนายน วันต่อต้านยาเสพติดโลก ขอให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่องสร้างการรับรู้เนื่องในวันยาเสพติดโลก
Home
รู้จักเรา
กิจกรรม ประชาสัมพันธ์
ปฏิทินปฏิบัติการ
Webboard
บทความสาระน่ารู้
ศรช.แหล่งเรียนรู้
ติดต่อเรา
เข้าระบบ
เรื่องของการเรืองแสง
โดย :
บอส
เมื่อวันที่ :
พุธ ที่ 27 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2565
เรื่องของการเรืองแสง
ประเด็นในเรื่องของการเรื่องแสงบนหน้าปัดนาฬิกา บางทีก็มักจะกลายเป็นหัวข้อถกเถียง กันอยู่เสมอในแวดวงคนรักนาฬิกาว่าแบบไหนดีกว่ากัน หรือการใช้สารประเภทไหน
ดีกว่ากันในอดีต ถ้าไม่นับนาฬิกาดิจิตอลที่มักจะปุ่มให้กดไฟ สำหรับดูตอนกลางคืน การเรื่องแสงของนาฬิกา ทั้งบนหลักชั่วโมง และตามเข็มต่างๆ ที่เราเรียกกันว่า 'พรายน้ำ' นั้น มีหลักการที่เรียกกันว่า Phosphorescence ซึ่งจะเป็นปรากฏการณ์ที่คู่กับ Fluoresence ที่เราคุ้นชื่อกันดี ซึ่งแบบหลัง จะเกิดการเรื่องแสงก็ต่อเมื่อมีพลังงานเข้ามากระตุ้น เช่น ไฟฟ้า และจะหยุดเรืองแสงทันทีเมื่อพลังงานหมด
ขณะที่ Phosphorescence เป็นการทำงานในลักษณะเหมือนกับการดูดชับพลังงาน เช่น แสงไฟ หรือแสงอาทิตย์เอาไว้และทำให้เกิดการเรื่องแสงขึ้นมาแม้ว่าจะเข้าที่ร่มหรือปิดไฟไปแล้ว ก็ยังจะมีการเรืองแสงต่อไปตามระยะเวลาในการรับแสงและความสามารถในการคายแสงของวัสดุที่นำมาใช้ในการเขียนหลักชั่วโมง หรือเข็มต่างๆบนหน้าปัดนั่นคือหลักการ..
ส่วนวัสดุที่นำมาใช้ในการเขียนเพื่อให้เกิดการเรื่องแสงนั้น ในอดีต เราใช้สาร ที่มีกัมมันตภาพรังสีอย่าง Redium และ Tritium ประเด็นในเรื่องของการเรื่องแสงบนหน้าปัดนาฬิกา บางทีก็มักจะกลายเป็นหัวข้อถกเถียง กันอยู่เสมอในแวดวงคนรักนาฬิกาว่าแบบไหนดีกว่ากัน หรือการใช้สารประเภทไหนดีกว่ากัน
ในอดีต ถ้าไม่นับนาฬิกาดิจิตอลที่มักจะปุมให้กดไฟ สำหรับดูตอนกลางคืน การเรื่องแสงของนาฬิกา ทั้งบนหลักชั่วโมง และตามเข็มต่างๆ ที่เราเรียกกันว่า 'พรายน้ำ' นั้น มีหลัก
การที่เรียกกันว่า Phosphorescence ซึ่งจะเป็นปรากฏการณ์ที่คู่กับ Fluoresence ที่เราคุ้นชื่อกันดี ซึ่งแบบหลัง จะเกิดการเรื่องแสงก็ต่อเมื่อมีพลังงานเข้ามากระตุ้น เช่น ไฟฟ้า และจะหยุดเรืองแสงทันทีเมื่อพลังงานหมด
บาคาร่า
ขณะที่ Phosphorescence เป็นการทำงานในลักษณะเหมือนกับการดูดชับพลังงาน เช่น แสงไฟ หรือแสงอาทิตย์เอาไว้และทำให้เกิดการเรื่องแสงขึ้นมาแม้ว่าจะเข้าที่ร่มหรือปิดไฟไปแล้ว ก็ยังจะมีการเรือง แสงต่อไปตามระยะเวลาในการรับแสงและความสามารถในการคายแสงของวัสดุที่นำมาใช้ในการเขียนหลักชั่วโมง หรือเข็มต่างๆบนหน้าปัดนั่นคือหลักการ..
ส่วนวัสดุที่นำมาใช้ในการเขียนเพื่อให้เกิดการเรื่องแสงนั้น ในอดีต เราใช้สาร ที่มีกัมมันตภาพรังสีอย่าง Redium และ Tritium มาผสมกับ Phrosphor ในการเขียนหลัก ถ้า
เป็นนาฬิกายุคเก่าๆ ประมาณ 1931-1950 จะเป็นการใช้ Redium ส่วน Tritium เพิ่งนำมา
ใช้เมื่อปี 1961
อย่างไรก็ตาม ข้อเสียของวัสดุเหล่านี้คือเป็นอันตรายเพราะเป็นวัสดุที่มีการปล่อยกัมมันตรังสี และค่าครึ่งชีวิต หรือ Half-Life ที่ไม่นาน อย่าง Trituim จะอยู่ที่ 12 ปีกว่าๆ ซึ่งเท่ากับว่าพอพ้นช่วงเวลานี้ไปแล้ว การเรื่องแสงของนาฬิกาก็จะลดลง จนกระทั่งหมดอายุคือไม่เรื่องแสงอีกเลย โดยนาฬิการุ่นเก่าๆ ที่ใช้Tritium ในการเขียนหลักเรื่องแสง สังเกตได้จากบนหน้าปัดในตำแหน่ง 6 นาฬิกา จะมีการเขียนว่า T Swiss Made T ซึ่งตัว T ย่อมาจากTrituim นั่นเอง
สำหรับ Tritium จะเป็นสารที่มีอันตรายน้อยกว่า ว่ากันว่าการใส่นาฬิกาที่ใช้ Tritium
เขียนบนหลัก ชั่วโมงเป็นเวลา 1 ปีจะพอๆ กับการรับรังสีจากการนั่งดูโทรทัศน์ประมาณ 1 ปีในปัจจุบัน พรายน้ำของนาฬิกาถูกเข้ามาแทนที่ด้วยสารที่มีเครื่องหมายการค้าว่า LumiNova หรือ Super LumiNova ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่องสว่างมากขึ้น อายุการใช้งานนานขึ้น โดยเป็นสารที่เกิดจากส่วนผสมของ Strontium Aluminate ซึ่งเป็นสารไม่มีกัมมันตรังสี ผสมกับสารที่ไม่พิษอย่าง Photoluminescent โดยบริษัทที่ถือสิทธิ์สารตัวนี้ก็มีทั้ง LumiNova AG แห่งสวิตเซอร์แลนด์ และ Nemoto& Co ของญี่ปุ่นที่เปิดตัวSuper LumiNova ออกมาในปี 1993 เพื่อใช้ในธุรกิจต่างๆ เช่น อัญมณี และการบิน รวมถึงยังมีสีสันให้เลือก หลายแบบ ตั้งแต่ ขาวนวล, เขียว, ฟ้า หรือแดงการเรืองแสงของสารเหล่านี้มีหลักการเดียวกับ Trituim คือ จะดูดซับแสงสว่างเอาไว้แล้วค่อยๆ เรื่องแสง หรือคายออกมาจนกว่าจะหมด ซึ่งเคยมีการทดสอบเอาไว้ว่าถ้าเปิดไฟ
ส่องไปที่นาฬิกาประมาณ 6 นาที จะมีการเรืองแสงนานถึงเกือบ 45 นาทีเลยทีเดียวอย่างไรก็ตาม แม้ Tritium จะไม่ได้รับความนิยมในการใช้ในการเขียนบนหลักนาฬิกาแล้วแต่ผู้ผลิต นาฬิกาบางราย เช่น Ball หรือ Luminox ก็นำ Tritium มาใช้ในการผลิตหลักเรืองแสงที่เรียกว่า GTLS หรือ Gaseous Tritium Light Source หรือที่คนเล่นนาฬิกาบ้านเราชอบเรียกว่า 'แท่งแก๊ส' จะมีการผลิตแสงสว่าง ได้เองโดยไม่จำเป็นต้องโดนแสงไฟและมีความสว่างแบบต่อเนื่อง แต่ข้อเสียก็ยังมีอยู่ตรงที่ว่า มีอายุการใช้งาน ซึ่งส่วนใหญ่ถูกปรับให้มีอายุนานถึง20-30 ปีมากกว่าค่าครึ่งชีวิตที่มีอยู่ของTritium ในเมื่อทราบข้อมูลอย่างนี้แล้ว ชอบแบบการเรื่องแสงแบบไหนก็เลือกกันได้เลย
https://berlin55.com/
เข้าชม : 187
ความคิดเห็นที่ 1
อังคาร ที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2565 เวลา 21:52:32
www.หวย24 หวยชุด เชื่อถือได้ หวยหุ้นไทย แทงหวย 24 ชั่วโมง หวยฮานอย ไม่อั้น เล่นหวยออนไลน์ เว็บไหนดี หวยออนไลน์ หวยสิงคโปร
http://tanghuay24.bet/
โดย :
ก
ไอพี :
101.109.252.209
Re หัวข้อ :
รูปประกอบ :
Limit 100 kB
ไอคอน :
ใช้ไอคอน
ปิด
รายละเอียด :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ชื่อของท่าน :
สตูล สงบ
สะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ์
สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสตูล
168 หมู่ที่ 6 ตำบลคลองขุ
ด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 โทรศัพท์ : 074-711449
โทรสาร :
074-721
413
E-mail : stn_it@dole.go.th
Powered by
MAXSITE 1.10
Modify by นิกร เกษโกมล Version 2.05