สหภาพพม่า (UNION OF MYANMMAR)
• สหภาพพม่ามีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งวัตถุดิบทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดการค้า แรงงาน และแหล่งลงทุนที่สำคัญของไทย โดยเฉพาะด้านพลังงาน (ก๊าซและไฟฟ้าพลังน้ำ) และเป็นทางเชื่อมสู่จีนและอินเดีย
• สหภาพพม่าเป็น “critical factor” ในยุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคของไทย ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภายในพม่าหลายประการ อาทิ ยาเสพติด แรงงานผิดกฎหมาย ความมั่นคงบริเวณชายแดน ฯลฯ
ข้อมูลทั่วไป
พื้นที่ 657,740 ตร.กม.
เมืองหลวง เนปิดอว์
ประชากร 55.4 ล?านคน
ภาษาราชการ พม่า
ประมุข พลเอกอาวุโส ตาน ฉ?วย
นายกรัฐมนตรี พลเอก เต็ง เส?ง
รัฐมนตรีต่างประเทศ นายญาณ วิน
ข้อมูลเศรษฐกิจ
GDP 9.3 พันล้าน USD
GDP Per Capita 97 USD
สกุลเงิน จ๊าต
อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 30
สินค้านำเข้าที่สำคัญ เครื่องจักรกล ใยสังเคราะห์ น้ำมันสำเร็จรูป
สินค้าส่งออกที่สำคัญ ก๊าซธรรมชาติ สิ่งทอ ไม้ซุง
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ จีน สิงคโปร์ ไทย
ตลาดส่งออกที่สำคัญ ไทย อินเดีย จีน
Real GDP Growth ร้อยละ 3.5
ทรัพยากรสำคัญ ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุ
อุตสาหกรรมหลัก เกษตร สิ่งทอ และสินค้าอุปโภคบริโภค
ประเทศพม่า (อังกฤษ: Burma หรือ Myanmar) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหภาพพม่า[1] (อังกฤษ: Union of Myanmar;) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทรอินโดจีนซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุด และมีพรมแดนทางแผ่นดินติดต่อกับสองประเทศ ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ของโลก ได้แก่ จีน และอินเดีย แต่เดิมชาวตะวันตกเรียกประเทศนี้ว่า Burma จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2532 พม่าได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็น Myanmar ชื่อใหม่นี้เป็นที่ยอมรับจากองค์การสหประชาชาติ แต่บางชาติ เช่น สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ไม่ยอมรับการเปลี่ยนชื่อนี้ เนื่องจากไม่ยอมรับรัฐบาลทหารที่เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ ปัจจุบันหลายคนใช้คำว่า Myanmar ซึ่งมาจากชื่อประเทศในภาษาพม่าว่า Myanma Naingngandaw ไม่ว่าจะมีความเห็นเกี่ยวกับ